เลือกอาหารเสริมกระดูกอย่างไร ให้ไม่โดนหลอกลวง

และนี่คือเหตุผลที่ทีมงานของเรา ตัดสินใจที่รวบรวมผลิตภัณฑ์อาหารเสริมกระดูกยอดนิยมทั้งหมดในปัจจุบัน โดยการประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผลของแต่ละตัว โดยเราจะแสดงให้เห็นว่าควรเลือกซื้ออาหารเสริมชนิดใด หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ใด รวมถึงแนะนำผลิตภัณฑ์ที่เราคัดสรรว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิผลที่สุด ซึ่งในการวิเคราะห์ของเรา จะสังเกตได้ว่า มีบริษัทจำนวนหนึ่งที่มีการโฆษณาเกินจริงเกี่ยวกับคุณสมบัติในการรักษาของผลิตภัณฑ์ของตน เพราะมันอาจเป็นไปไม่ได้ที่ให้ผลลัพธ์เท่าที่กล่าวอ้างไว้ แล้วเราจะได้รับผลลัพธ์อะไรบ้าง จากการรับประทานอาหารเสริมกระดูกตามหลักความเป็นจริ
การรับประทานอาหารเสริม จะเห็นผลลัพธ์เมื่อใด
ประสิทธิภาพของสารประกอบส่วนใหญ่ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อกระดูกนั้น จะเริ่มเห็นผลภายใน 1 ถึง 2 เดือน ซึ่งมันอาจจะทำให้คุณจำเป็นต้องออกกำลังกายเพิ่ม หรือทำกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรงขึ้น แต่มันอาจจะต้องใช้เวลาระยะหนึ่งกว่าที่วงจรการสร้างกระดูกจะสร้างใหม่ได้เร็วขึ้น วงจรการต่ออายุกระดูกตามธรรมชาติของร่างกาย และป้องกันอาการกระดูกเปราะ หรือพรุนได้
มีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า การรับประทานอาหารเสริมเป็นประจำทุกวัน เป็นเวลา 6 เดือน มีแนวโน้มที่จะบำรุงกระดูกได้ในระยะยาวและยั่งยืน และนี่คือลำดับเวลาของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นที่สมเหตุสมผล:
- เดือนที่ 1 – 2 : เมื่อกระดูกของคุณเริ่มแข็งแรงขึ้น คุณอาจสังเกตเห็นว่าสามารถขยับตัวได้อย่าสะดวกสบายขึ้น ซึ่งสามารถวิ่งเล่นกับหลานๆ ได้อีกครั้ง หรือทำงานบ้านที่มีการใช้แรงได้มากขึ้น
- เดือนที่ 3 – 6 : คุณอาจสังเกตได้ว่า คุณรู้สึกแข็งแรงขึ้น มีสุขภาพที่ดีขึ้น และมั่นใจในความแข็งแรง และมวลของกระดูกที่หนาแน่นขึ้น ซึ่งมันทำให้คุณสามารถออกไปเดินเร็ว เดินป่า หรือขี่จักรยานได้
- หลังจากเดือนที่ 6 : กระดูกของคุณฟื้นฟูอย่างเต็มที่ถึงจุดสูงสุดแล้ว และผลตรวจมวลกระดูกของ DEXA ล่าสุด อาจแสดงให้เห็นว่า มวลกระดูกของคุณหนาแน่นขึ้น และทำให้คุณสามารถขยับตัวได้อย่างเต็มที่ และกลับมาทบทวนถึงผลกระทบของน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นด้วยการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างกระดูกของคุณให้แข็งแรงขึ้นอีก
เคล็ดลับ : ความต่อเนื่องจะทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด การรับประทานอาหารเสริมกระดูกที่มีประสิทธิภาพ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน จะทำให้เกิดการเสริมสร้าง และซ่อมสร้างแบบทวีคูณ เนื่องจากจำนวนของยาที่บริโภค จะเป็นตัวบอกถึงความยั่งยืนของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
แล้วผลิตภัณฑ์อาหารเสริมลักษณะใดที่เป็นอาหารเสริมชั้นยอด และแตกต่างจากชนิดอื่น ๆ
5 ส่วนผสมที่จำเป็นในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสำหรับกระดูกชั้นดี
-
แคลเซียม (Calcium)
แคลเซียมเป็นสารประกอบที่สำคัญที่สุดสำหรับกระดูกที่แข็งแรง เพราะทำให้โครงสร้างกระดูกมีความแข็งแรงขึ้น อย่างไรก็ตาม ความหนาแน่นของมวลกระดูกอาจจะไม่ได้เพิ่มขึ้นเสมอไปจากการรับประทานแคลเซียม และจริง ๆแล้ว ปริมาณแคลเซียมที่มากเกินไป อาจทำให้กระดูกของคุณสไม่ามารถดูดซึมสารอาหารได้หมด และอาจทำให้เกิดนิ่วในไต หรือเกิดคราบจุลินทรีย์ในหลอดเลือดแดงได้ และด้วยเหตุนี้ การรับประทานแคลเซียมในปริมาณต่ำถึงปานกลาง แต่มีฤทธิ์ทางชีวภาพสูง จึงมีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพมากกว่า เช่น ไดแคลเซียม มาเลท ซึ่งมีปัจจัยในการดูดซึมที่ทำให้มั่นใจได้ว่า จะมีการดูดซึมสารอาหารไปสู่โครงสร้างกระดูกโดยตรง
-
แมกนีเซียม (Magnesium)
แมกนีเซียมก็เป็นสารประกอบทางชีวภาพที่สำคัญสำหรับกลไกการทำงานในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีแมกนีเซียมร้อยละ 60 อยู่ภายในโครงกระดูกของร่างกายมนุษย์ และมีนักวิจัยที่สร้างสมมุติฐานความเชื่อมโยงว่า ระหว่างการรับประทานแมกนีเซียมในปริมาณเยอะ และการเพิ่มความหนาแน่นของมวลกระดูกนั้น มีแร่ธาตุเข้ามามีบทบาทสำคัญในการปรับสมดุลแคลเซียมในร่างกาย และสามารถดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่กระดูกได้ดี และน่าเสียดายที่ 4 ใน 5 ส่วนของผู้คนมักไม่ได้บริโภคแมกนีเซียมให้เพียงพอที่จะเสริมสร้างกระดูกในแต่ละมื้ออาหาร ทั้ง ๆที่มีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า ควรบริโภคแคลเซียม พร้อมกับแมกนีเซียม ในอัตราส่วน 2:1 จึงจะเหมาะสมที่สุด
-
โบรอน (Boron)
สารประกอบนี้สามารถพบได้ตามธรรมชาติจากอาหารจำพวกพืช โดยเฉพาะ ผักใบเขียว โบรอนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่สำคัญสำหรับการสร้างแร่ธาตุในกระดูกด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมแมกนีเซียม และในขณะเดียวกัน มันก็ช่วยเพิ่มความสามารถในการกักเก็บแคลเซียมในกระดูกเช่นกัน เนื่องจากโบรอนมีบทบาทสำคัญในการรักษาระดับมวลหนาแน่นของกระดูกและปริมาณแร่ธาตุให้เหมาะสม แต่ด้วยความที่มีการวิจัยว่า สารประกอบนี้อาจส่งผลกระทบต่อวงจรการสร้างกระดูก และโภชนาการอาหารในปัจจุบันนี้ได้ให้สารอาหารโบรอนที่เพียงพอแล้ว จึงทำให้สารประกอบนี้จึงไม่ค่อยจำเป็นมากเท่าไหร่สำหรับสูตรอาหารเสริม
-
วิตามินดี (Vitamin D)
วิตามินดีนั้นจะถูกผลิตขึ้นเมื่อร่างกายได้สัมผัสกับแสงแดด ซึ่งมันจำเป็นต่อการดูดซึมแคลเซียมในกระดูกอย่างมาก แม้ว่ายุคสมัยก่อนหน้านี้มักมีการได้รับ “วิตามินจากแสงแดด” ในปริมาณสูงขณะที่อยู่กลางแจ้งในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางกลับกันการอยู่ในที่ร่มของยุคสมัยใหม่ ทำให้ร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้ และเกิดความเสี่ยงต่อการสะสมแคลเซียมในไตและหลอดเลือดแดงได้ นอกจากนี้ แม้อาหารเสริมวิตามินดีได้รับความนิยมและมีประสิทธิภาพมาก แต่ประชากรชาวอเมริกันเกือบร้อยละ 50 ยังคงขาดแคลนวิตามินตัวนี้ ดังนั้นจึงสามารถเลือกซื้อวิตามิน D3 ได้ เพราะเป็นสารสกัดจากวิตามินดีที่มีประสิทธิภาพทางชีวภาพมากที่สุด
-
วิตามินเค (Vitamin K)
วิตามินเคมีบทบาทสำคัญในวงจรการเปลี่ยนแปลงกระดูกตามธรรมชาติของร่างกายมนุษย์ โดยการกระตุ้นโปรตีนที่ช่วยสร้างแร่ธาตุในกระดูก ซึ่งประสิทธิภาพในการควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดก็มีความสำคัญเช่นกันด้วยการดูดซึมแร่ธาตุจากเนื้อเยื่อเข้าสู่กระดูก เนื่องจากความนิยมในการบริโภคอาหารหมักของคนทั่วโลก ที่ซึ่งอุดมไปด้วยวิตามินเคตามธรรมชาตินั้นลดน้อยลงไปสู่ระดับที่ความหนาแน่นของมวลกระดูกต่ำและกระดูกเปราะหักง่าย ดังนั้นทางเราจึงแนะนำ วิตามิน K2 มากกว่า K1 เนื่องจากมีการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า มันส่งผลต่อความหนาแน่นของมวลกระดูกมากกว่า
ดังนั้น การรับประทานอาหารเสริมร่วมกันนั้นมีข้อควรระวังอย่างมาก เพื่อที่จะไม่ให้มีผลเสียต่อร่างกาย
สัญญาณเตือนของการหลอกลวงผู้บริโภคที่อาจเกิดขึ้น
-
การบริโภคแคลเซียมในปริมาณสูง แต่ประสิทธิผลต่ำ (High Dose, Low Efficiency Calcium)
แม้ว่าการบริโภคแคลเซียมในปริมาณมากเกินไปจากมื้ออาหารอาจเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยาก แต่การได้รับแคลเซียมจากอาหารเสริมที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้ปริมาณแคลเซียมเพิ่มขึ้นจนอาจจะไม่ปลอดภัยต่อร่างกาย การที่บริโภคแคลเซียมในปริมาณที่สูงเกินกว่าที่กระดูกจะดูดซึมได้ สามารถทำให้เกิดนิ่วในไต และคราบจุลินทรีย์ในหลอดเลือดได้ และอาจก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนี้ อย่าลืมที่จะหลีกเลี่ยงอาหารเสริมที่มีแคลเซียม คาร์บอเนต เพราะแม้ว่าแคลเซียมประเภทนี้จะมีราคาถูกและมีจำหน่ายทั่วไป แต่มันไม่มีประสิทธิภาพในการดูดซึมได้ดี ซึ่งทำให้เกิดความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการสะสมในเนื้อเยื่อได้
-
ไม่มีตัวช่วยในการดูดซึม (Lack of Absorption Factors)
สาเหตุของการสูญเสียมวลกระดูกตามอายุที่มากขึ้นนั้น อาจจะไม่ใช่ปริมาณแคลเซียมที่ไม่เพียงพอแต่เป็นที่ความสามารถในการดูดซึมแคลเซียมของร่างกายลดน้อยลง นอกจากนี้ การบริโภคแคลเซียมมากเกินไปโดยไม่มีส่วนผสมที่ช่วยในการดูดซึม อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการสะสมแคลเซียมในไต และหลอดเลือดแดง ด้วยเหตุนี้ ตัวช่วยในการดูดซึมนี้จึงจำเป็นที่จะอยู่ในสูตรอาหารเสริม เพื่อช่วยลำเลียงแคลเซียมเข้าสู่ร่างกายได้โดยตรง ที่ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากกว่าปริมาณแคลเซียมอีกด้วยซ้ำ
-
สารเติมเต็ม ( Filler Ingredients)
มีส่วนผสมจากธรรมชาติที่ช่วยเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรงน้อยชนิด ที่มีศักยภาพและปลอดภัยต่อการบริโภค เพราะสารประกอบตัวอื่นๆ ที่มีการอ้างว่าช่วยเสริมสร้างมวลกระดูกนั้น มีหลักฐานการวิจัยทางการแพทย์เพียงน้อยนิดเท่านั้น ที่แสดงให้ว่า สารประกอบเหล่านี้ประสิทธิภาพจริง ๆ
-
วิตามินดี (Vitamin D)
วิตามินดีนั้นจะถูกผลิตขึ้นเมื่อร่างกายได้สัมผัสกับแสงแดด ซึ่งมันจำเป็นต่อการดูดซึมแคลเซียมในกระดูกอย่างมาก แม้ว่ายุคสมัยก่อนหน้านี้มักมีการได้รับ “วิตามินจากแสงแดด” ในปริมาณสูงขณะที่อยู่กลางแจ้งในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางกลับกันการอยู่ในที่ร่มของยุคสมัยใหม่ ทำให้ร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้ และเกิดความเสี่ยงต่อการสะสมแคลเซียมในไตและหลอดเลือดแดงได้ นอกจากนี้ แม้อาหารเสริมวิตามินดีได้รับความนิยมและมีประสิทธิภาพมาก แต่ประชากรชาวอเมริกันเกือบร้อยละ 50 ยังคงขาดแคลนวิตามินตัวนี้ ดังนั้นจึงสามารถเลือกซื้อวิตามิน D3 ได้ เพราะเป็นสารสกัดจากวิตามินดีที่มีประสิทธิภาพทางชีวภาพมากที่สุด
โปรดระวังอาหารเสริมที่มีรายการส่วนผสมที่เยอะจนเกินไป ซึ่งอาจสร้างภาพลวงตาในการตัดสินใจของคุณได้ การที่มีสารประกอบหลายชนิดนี้อาจไม่จำเป็นต่อสุขภาพของคุณเสมอไป ซึ่งอาหารเสริมบางชนิดที่เรานำมานำเสนอ มีส่วนผสมที่เป็นเอกลักษณ์มากกว่า 10 รายการ
5 อันดับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสำหรับกระดูกที่ดีที่สุด ประจำปี 2024
นี่คือการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพข้อต่อยอดนิยมที่มีวางจำหน่ายในปัจจุบันแบบเทียบเคียงกัน ซึ่งเราจะสรุปข้อมูลทางการแพทย์ และการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์แต่ละตัว:

ส่วนด้านล่างนี้ จะเป็นการจัดอันดับ และวิจารณ์ 5 อันดับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสำหรับกระดูกที่ดีที่สุด แต่ละชนิดอย่างละเอียด โดยเริ่มจากอันที่แนะนำมากที่สุด

#1. Calciven
by Nutreance


Our Rating

Overall Grade
ข้อดี
- มีส่วนผสมของแคลเซียมในปริมาณที่ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการดูดซึมทางชีวภาพได้ดีที่สุดสำหรับเสริมสร้างกระดูก
- มีอัตราส่วน 2:1 ของแคลเซียมต่อแมกนีเซียม ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสม
- มีการผสมผสานของปัจจัยการดูดซึมที่ลงตัวที่ทำให้มั่นใจได้ว่า จะมีการดูดซึมแคลเซียมไปยังกระดูกโดยตรง
- มีสารประกอบที่จำเป็นครบ 5 อย่าง
- ไม่มีสารตัวเติม หรือสารปรุงแต่งสังเคราะห์
- ผู้รับประทานมังสวิรัติสามารถทานได้ ไม่ใช่จีเอ็มโอ และปราศจากกลูเตน
- ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อเสีย
- จัดจำหน่ายเพียงช่องทางออนไลน์เท่านั้นในประเทศไทย ยังไม่มีจำหน่ายในร้านค้าปลีกทั่วไป
ส่วนสำคัญ
เราให้คะแนนผลิตภัณฑ์ Calciven by Nutreance เป็นอันดับ 1 เพราะเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดเดียวเท่านั้นที่ตรงตามเกณฑ์ทีเรากำหนดอย่างเคร่งคัดไว้ทุกประการ Calciven มีส่วนผสมทั้งหมด 5 อย่างที่เราพิจารณาว่าจำเป็นสำหรับการเสริมสร้างกระดูกให้มีประสิทธิภาพที่สุด ได้แก่ แคลเซียม แมกนีเซียม โบรอน วิตามินดี และวิตามินเค และในแต่ละแคปซูลมีไดแคลเซียม มาเลตในปริมาณ 120 มก. ซึ่งเป็นปริมาณยาที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ และมีการผสมไดแมกนีเซียม มาเลท ซึ่งเป็นแมกนีเซียมที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูง ในขนาด 60 มก. และเมื่อมีการผสมกันแล้ว จะทำให้เกิดอัตราส่วน 2:1 ระหว่างแคลเซียมและแมกนีเซียมที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งช่วยให้ดูดซึมได้เร็ว และแคลเซียมยังช่วยเสริมสร้างวงจรการเปลี่ยนแปลงของกระดูกตามธรรมชาติอีกด้วย
Calciven มีปัจจัยการดูดซึมทั้งหมด 4 ประการ รวมถึงแมกนีเซียม ที่ช่วยลำเลียงแคลเซียมเข้าสู่กระดูกโดยตรง และลดความเสี่ยงในการสะสมในเนื้อเยื่อ แต่ละแคปซูลประกอบด้วยวิตามิน D3 ในปริมาณ 50 ไมโครกรัม และวิตามิน K2 ปริมาณ 100 ไมโครกรัม ซึ่งการบริโภควิตามินสองตัวนี้ในปริมาณที่เหมาะสมจะทำให้เกิดรูปแบบการดูดซึมได้ดี นอกจากนี้ Calciven ยังเป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นเดียวที่มีส่วนผสมของโบรอน จากผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่เรานำมาเสนอ ที่ซึ่งให้ความสำคัญกับการรักษา และเพิ่มปริมาณแร่ธาตุในกระดูก

#2. OsteoBase
by Ortho Molecular Products


Our Rating

Overall Grade
ข้อดี
- มีสารประกอบที่จำเป็นครบ 4 จาก 5 อย่าง
- ไม่มีสารตัวเติม หรือสารปรุงแต่งสังเคราะห์
- ไม่ใช่จีเอ็มโอ และปราศจากกลูเตน
- ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อเสีย
- ไม่มีส่วนประกอบของโบรอน
- ปริมาณของวิตามินดี หรือวิตามินเค ไม่เพียงพอสำหรับการดูดซึมแคลเซียมที่ดี
- มีแคลเซียม และแมกนีเซีมในอัตราส่วนเพียง 1:1 ซึ่งอาจเกิดความเสี่ยงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดได้
- คนรับประทานมังสวิรัติ ไม่สามารถรับประทานได้
ส่วนสำคัญ

#3. Osteoben
by Designs for Health


Our Rating

Overall Grade
ข้อดี
- มีสารประกอบที่จำเป็นครบ 4 จาก 5 อย่าง
- ไม่มีสารปรุงแต่งสังเคราะห์
- ผู้รับประทานมังสวิรัติสามารถทานได้ ไม่ใช่จีเอ็มโอ และปราศจากกลูเตน
- ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อเสีย
- ไม่มีส่วนประกอบของโบรอน
- ปริมาณของวิตามินดีไม่สูงพอที่จะดูดซึมแคลเซียมได้ดี
- มีแคลเซียม และแมกนีเซีมในอัตราส่วนเพียง 1:1 ซึ่งอาจเกิดความเสี่ยงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดได้
- มีสารจากพืชที่มีฤทธิ์คล้ายเอสโตรเจน ซึ่งอาจทำให้เกิดผลเสียต่อฮอร์โมนเพศชายได้
ส่วนสำคัญ

#4. Bone Builder with Magnesium
by Metagenics

Our Rating

Overall Grade
ข้อดี
- มีสารประกอบที่จำเป็นครบ 3 จาก 5 อย่าง
- ไม่มีสารปรุงแต่งสังเคราะห์
- ไม่ใช่จีเอ็มโอ และปราศจากกลูเตน
- ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อเสีย
- ไม่มีส่วนประกอบของโบรอน หรือวิตามินเค
- ปริมาณของวิตามินดีไม่สูงพอที่จะดูดซึมแคลเซียมได้ดี
- มีส่วนผสมบางอย่างที่ควรได้รับการพิสูจน์เพิ่มเติม
- คนรับประทานมังสวิรัติ ไม่สามารถรับประทานได้
ส่วนสำคัญ

#5. Ossopan MD
by Xymogen

Our Rating

Overall Grade
ข้อดี
- มีสารประกอบที่จำเป็นครบ 3 จาก 5 อย่าง
- ไม่มีสารปรุงแต่งสังเคราะห์
- ไม่ใช่จีเอ็มโอ และปราศจากกลูเตน
- ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา
ข้อเสีย
- ไม่มีส่วนประกอบของโบรอน หรือวิตามินเค
- ปริมาณของวิตามินดีไม่สูงพอที่จะดูดซึมแคลเซียมได้ดี
- มีแคลเซียม และแมกนีเซียมในอัตราส่วน 4:1 ซึ่งอาจเกิดความเสี่ยงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดได้
- คนรับประทานมังสวิรัติ ไม่สามารถรับประทานได้
ส่วนสำคัญ
References
- Demontiero O, Vidal C, Duque G. Ther Adv Musculoskelet Dis. 2012 Apr;4(2):61-76. doi: 10.1177/1759720X11430858. PMID: 22870496; PMCID: PMC3383520.
- Reinwald S, Weaver CM, Kester JJ. Adv Food Nutr Res. 2008;54:219-346. doi: 10.1016/S1043-4526(07)00006-X. PMID: 18291308.
- DeLuccia R, Cheung M, Ng T, Ramadoss R, Altasan A, Sukumar D. Curr Dev Nutr. 2019 Jun 13;3(Suppl 1):nzz034.P10-100-19. doi: 10.1093/cdn/nzz034.P10-100-19. PMCID: PMC6574898.
- Rondanelli M, Faliva MA, Peroni G, Infantino V, Gasparri C, Iannello G, Perna S, Riva A, Petrangolini G, Tartara A. J Trace Elem Med Biol. 2020 Dec;62:126577. doi: 10.1016/j.jtemb.2020.126577. Epub 2020 Jun 6. PMID: 32540741.
- Laird E, Ward M, McSorley E, Strain JJ, Wallace J. Nutrients. 2010 Jul;2(7):693-724. doi: 10.3390/nu2070693. Epub 2010 Jul 5. PMID: 22254049; PMCID: PMC3257679.
- Akbari S, Rasouli-Ghahroudi AA. Biomed Res Int. 2018 Jun 27;2018:4629383. doi: 10.1155/2018/4629383. PMID: 30050932; PMCID: PMC6040265.